– King of Lavo
  – King of Chenla
  – King of Suvarnabhumi (Ratchaburi)
  – King of Haripuñjaya


King of Suvarnabhumi[1]
Kaew Fa[1]
Thao Uthong
(พระยาพาน)
Vīravarman
r. 560-575[1]
Usadevi[1]
Phraya Chaknarai
Queen Camadevi
623-715
r.659-688
Nuanchan
(นวลจันทร์)
Phraya Srisap
(พระยาศรีทรัพย์)
Mora[1]Sakorn Dam[1]A
554-640
r.580-640
Mahendravarman[1]
556-611
r.598-610

Princess of Luang Phrabang
Khun Hanimit
(ขุนหะนิมิต)
Manjushri
(มัญชุศรี)
E Lert
(อีเลิศ)
Sakorn Dam Ruchi[1]Isanavarman I
r.616-637
Boromruek
(บรมฤกษ์)
See: Varman monarchs
Notes
1.^A In Thai chronicles, Bhavavarman I was the King of Suvarnabhumi after marrying the princess Mora of the predecessor king who had no male heir. His other names was Dam (before entering the monkhood) and King Sakorn Dam (พระเจ้าสักรดำ; after the coronation).[1] But in Cambodian chronicles claimed he was the King of Chenla.
1.^B In Cambodian chronicles claimed he was the successor of his brother, Bhavavarman I. But in Thai chronicles stated he married the princess of Luang Prabang and moved eastward to the Mekong valley and founded Shreshthapura in present Champasak and became the King of Chenla. He extended his power over the present-day Isan region as well as Cambodia but still maintained a stable relationship with his brother who was the King of Suvarnabhumi,[1] as mentioned in the Si Thep inscription (K. 978).[2]


ลำดับกษัตริย์ที่มีบันทึกว่าครองเมืองละโว้อโยธยา ก่อนสถาปนากรุงศรีฯ มีกษัตริย์ปกครองร่วมยุคสมัยกันหลายองค์ มีดังนี้

พระยาพาน

สินธพอมรินทร์(แกรก) พ.ศ.?

จันทรโชติ พ.ศ.?

พระนารายณ์ ราว พ.ศ.1625 - 1630**ชนกับยุคพระยากลิงค์ จักรพรรดิแห่งเมืองกรุงศรีพุทธิ(ดอนธูป)และ พระเจ้าพรหมมหาราช

    • พระนารายณ์เมืองละโว้ ตามบันทึกบอกว่าเป็นลูก/หลานเชื้อสายไสเลนทร์จากนครศรีฯ มีพระนามว่ากาฬวรรณดิส มีอำนาจปกครองที่เมืองละโว้ ก่อนจะปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ที่เมืองพระนคร เถลิงพระนามว่า พระเจ้าสุริยวรมันที่1

พระเจ้าหลวง ราว พ.ศ.1632 - 1654**ชนกับยุคชัยวรมัน6 และธรณินทรวรมัน1

พระเจ้าสายน้ำผึ้ง ราว 1654 - 1708**ชนกับยุคพระเจ้าไกรสรราช(1650) ปทุมสุริยวงศ์2(1654) สุริยวรมัน2(1656-1693) ธรณินทรวรมัน2(1693-1703) สูรยนารายณ์ร่วมสมัยกับพระเจ้าวิชัยพาหุที่1(สวรรคต1669) และ ยโศวรมัน2(1703-1709)

    • ปทุมสุริยวงศ์ไม่รู้เป็นองค์เดียวกับสุริยวรมัน2รึเปล่า? ถ้าเป็นก็จะนับว่าเป็น ปทุมสุริยวงศ์ที่2

พระเจ้าธรรมิกราชา ราว พ.ศ.1708 - 1748**ชนกับยุคพระเจ้าลาวเงิน(1702) กษัตริย์แห่งโยนกนครเชียงแสน(หิรัญนครเงินยาง) ขุนจอมธรรม(สวรรคต1711) และ ขุนเจืองกษัตริย์แห่งแคว้นพะเยา(1717)

    • ขุนเจืองกับธรรมิกราชาไม่รู้ใช่องค์เดียวกันรึเปล่า?

พระเจ้าอู่ทอง ราว พ.ศ.1748 - 1796

    • ชนกับยุคพระเจ้าดวงเกรียงกฤษณราช(1754-1795)

อินทรวรมัน2(1762-1786) พระเจ้าจันทรภาณุ(1772-1806) ขุนผาเมือง(1781-1792) ขุนศรีอินทราทิตย์(1791-1811)

    • อิน2กับผาเมือง 2องค์นี้องค์ใดองค์หนึ่งน่าจะมีสมัญญานามว่าพระเจ้าอู่ทองแบบออริจินอล ที่คนปัจจุบันเข้าใจผิดเอามาเรียกรามาธิบดี1 และให้คิดไปต่อ พระเจ้าอู่ทององค์เนี้ยปกครองฝั่งละโว้ ซึ่งตรงกับอินทรวรมัน2มากๆ เพราะตอนชัย7(บิดา)ครองราชย์ ชัย7ให้อิน2มาครองละโว้ วัดและศาสนสถานต่างๆที่ชัย7สร้างไม่เสร็จก็อิน2นี่แหละเป็นคนสร้างต่อจนเสร็จ

พระเจ้าชัยเสน ราว พ.ศ.1796 - 1832**ชนกับยุคชัยวรมัน8 (1786-1838)

พระเจ้าสุวรรณราชา ราว พ.ศ.1823 - 1844**ชนกับยุคพ่อขุนรามคำแหง(1822-1842) และ พนมทะเลศรี(1837)

พระเจ้าธรรมราชา ราว พ.ศ.1844 - 1853**ชนกับยุคไสยสงคราม(สุโขทัย)และ อินทรวรมัน3(1838-1851)

พระบรมราชา ราว พ.ศ.1853 - 1887**ชนกับยุคพนมวัง(1826) เลอไท(1842-66) งั่วนำถม(1866-90) เจ้าศรีราชา(1862-?) พระเจ้าศิริชัยเชียงแสน(1873-?) และ พระอินทราชา(1890)**ไทม์ไลน์ชนกับ พญางั่วนำถมกษัตริย์สุโขทัย อินทราชาองค์เนี้ยคือบิดาของเจ้านครอินทร์รึเปล่า? มีความเป็นไปได้ที่อินทราชาองค์นี้คือลูกองค์รองของอินทรชัยวรมัน(องค์โตคือชัยวรมัน9) ชัย9องค์โตครองอยู่เมืองพระนคร อินทราชาครองละโว้ เมื่ออินทราชาสวรรคตรามาธิบดีก็ครองละโว้ต่อ

    • บรมราชาเป็นบิดาของขุนหลวงพระงั่วรึเปล่า ทำไมใช้บรมราชาเป็นองค์แรก?

👑👑สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1,พระเจ้าอู่ทอง ราว พ.ศ.1887 - 1912 **สถาปนากรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ.1893**ชนกับยุคธรรมราชาลิไทครองราชย์สุโขทัย(1890-1911) และ ราชวงศ์หยวนล่มสลาย(1911)


ราชวงศ์ไศเลนทน์ จันทรวงศ์ ธรรมเสตุ,พระอินทราธิราช วิษณุที่1 วิษณุที่2 ศรีวิชเยนทรราชา,ศรีราชา ศิริกิตกุมาร,ธรรมเสตุ**พระแก้วมรกต สุชิตราช กัสสปะ4 โกณฑัญญะ ศรีจุฬามณีวรรมเทวา**บิดาและอัยกาของสุริยวรมัน1และ2 ท้าวสุชัย วิชโยตตุงคะ สุชิตราช,ชีวกะ มาณาภรณ์ ธรรมปรัพตา สูรยนารายณ์3,วิชัยพาหุ1

ส่วนราชวงศ์ศรีธรรมโศก พระเจ้าจันทรภาณุ ก็เป็นเชื้อสายโหนดนึงของจันทรวงศ์ ดองกับสายปทุมสุริยวงศ์ ขอม รามาธิบดีที่1ก็สืบเชื้อสายมาจากจันทรวงศ์นี่แหละ จันทรวงศ์ส่งลูก/หลานจากศิริธรรมนครขึ้นไปพริบพรี ละโว้ ตามลำดับ บางยุคก็ดองกับสายสุริยวงศ์เช่นยุคบิดาของสุริยวรมัน1 ไปอภิเษกกับเหลนของอินทรชัยวรมัน1

  1. ^ a b c d e f g h i j ชิต ศรีตะวัน. "พระเจ้าสักรดำมหาราช มหาราชที่ยิ่งใหญ่แห่งสยามแต่ไม่มีใครรู้จัก". www.oknation.net (in Thai). Archived from the original on 31 October 2023. Retrieved 31 October 2023.
  2. ^ "จารึกบ้านวังไผ่". Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (in Thai). Archived from the original on 31 October 2023. Retrieved 31 October 2023.